วันอังคารที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2551


กี่กัวัริต์


คริสต์มาส
คือ การฉลองการบังเกิดของพระเยซูที่เราเฉลิมฉลองกันในวันที่ 25 ธันวาคม
คำว่า "คริสต์มาส" เป็นคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ Christmas มาจากคำภาษาอังกฤษโบราณ
ว่า Christes Maesse ที่แปลว่า "บูชามิสซาของพระคริสตเจ้า"
คำว่า "Christes Maesse" พบครั้งแรกในเอกสารโบราณเป็นภาษาอังกฤษในปี 1038
และคำนี้ก็ได้แปรเปลี่ยนมาเป็นคำว่า Christmas ในภาษาไทย "คริสต์มาส" ก็มีความหมาย
เช่นกัน คำว่า "มาส" แปลว่า "เดือน"
เทศกาลคริสต์มาสจึง เป็นเดือนที่เราระลึกถึงพระเยซูคริสต์เจ้าเป็นพิเศษ
คำว่า"มาส" คือ"ดวงจันทร์" ตีความหมายในภาษาไทยคือพระเยซูทรงเป็นความสว่างของโลก
เหมือนดวงจันทร์ เป็นความสว่างในตอนกลางคืน Merry X'mas คำว่า Merry
ในภาษาอังกฤษโบราณ แปลว่า"สันติสุขและความสงบทางใจ" คำนี้จึงเป็นคำที่ใช้อวยพรคนอื่น
ขอให้เขาได้รับสันติสุขและความสงบทางใจ ถือเอาประเพณีของชนในท้องถิ่นนั้น
มาประยุกต์เข้ากับศาสนา โดยจัดให้มีการฉลองเพื่อระลึก ถึงการบังเกิดของพระเยซู
ที่เขายกย่องเหมือนกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่แห่งสากลโลก ผู้ทรงเกียรติเลอเลิศประเพณี นี้
ได้เริ่มมาจากรุงโรมในศตวรรษ ที่ 4 และ ค่อยๆ เผยแพร่ไปทุกทวีป

ประวัติ....ซานตาคลอส


วันคริสต์มาสนี้เริ่มตั้งแต่คริสตวรรษที่4 มีนักบุญคนหนึ่งชื่อ "นิโคลาส "
หรือ "เซนต์นิโคลาส" ท่านเป็นนักบุญ ตั้งแต่อายุยังน้อย เมื่อเป็นเด็กหนุ่ม
ก็ได้รับแต่งตั้งเป็นสังฆราชแห่งแคว้นไมรา ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศตุรกี
ท่านได้กลายเป็นนักบุญอุปถัมถ์ประจำชีวิตเด็ก เด็กในประเทศอังกฤษ จะเรียกคุณตาใจ
ดีว่า "คุณพ่อแห่งวันคริสต์มาส" ( Father Christmas )
เด็กเยอรมันนีเรียกว่า "ญาติแห่งพระคริสต์ " ( Christ Child )
เด็กชาวดัชท์เรียกว่า "ซาน นิโคลาส" หรือ "Sankt Klous"
ในที่สุดกลายเป็น "ซานตาคลอส" ติดปากเด็กๆทั่วโลก
ในปี ค.ศ. 1866 นักวาดการ์ตูนชาวอเมริกัน ชื่อ โธมัส แนส เป็นคนแรกที่วาดภาพของ
ซานตาคลอสขึ้นมาลักษณะเหมือนที่เรา เห็นทุกวันนี้ ลงพิมพ์ในหนังสือ
"Horpers Weekly"เป็นครั้งแรกใบหน้าของซานตาคลอส
เป็นสีแดงอมชมพูเหมือนกลีบกุหลาบ จมูกแดงเหมือนผลเชอรี่สุก
นัยน์ตาสุกใสเป็นประกาย หนวดเคราสีขาวท่าทางใจดี ถึงแม้ซานตาคลอสจะเป็นเพียง
ตำนานที่เกิดขึ้นมาเพื่อเฉลิมฉลองวันคริสต์มาสก็ตาม แต่ก็เป็นสัญลักษณ์
ที่รวมเอาวิญญาณและความหมายของคริสต์มาสไว้อย่างมากมาย คือความปิติยินดีชื่นชม
ความโอบอ้อมอารี ความรัก และความเป็นกันเอง

..ต้นคริสต์มาส.. ในสมัยโบราณหมายถึงต้นไม้ในสวนสวรรค์ ซึ่งอาดัมและเอวาไปหยิบผลไม้มากิน
และทำบาปไม่เชื่อฟังพระเจ้า ตั้งแต่ศตวรรษที่11 ชาวคริสต์แสดงละครที่หน้าวัด
ถึงความหมายของคริสต์มาสและเอาตันไม้ต้นหนึ่งไว้ตรงกลางเพื่อประดับฉากแสดงถึง
บาปกำเนิดของอาดัมและเอวาต้นไม้ที่ใช้เป็นต้นสน เนื่องจากเป็นต้นไม้ที่หาง่าย
ที่สุดในประเทศเหล่านั้น การแสดงละครคริสต์มาสแบบนี้ มีมาเป็นเวลาช้านานหลายร้อยปี
จนถึงศตวรรษที่15 พระสังฆราชหลายแห่งได้ห้ามแสดง
เนื่องจากการแสดงนั้นกลายเป็นการเล่น เหมือน ลิเก ล้อชาวบ้าน ผู้ปกครองบ้านเมือง
และศาสนาซึ่งไม่ตรงกับบรรยากาศของการฉลอง ชาวบ้านรู้สึกเสียดายที่
ไม่มีโอกาสดูละครสนุกๆแบบนั้นอีก จึงไปสนุกกันที่บ้านของ ตน
โดยเอาต้นไม้มาไว้ที่บ้าน เพราะต้นไม้เป็นจุดเด่นในลานวัด ที่เขาเคยร่วมสนุกกัน
จากนั้นก็เริ่มมีการแขวนลูกแอปเปิ้ลและแขวนแผ่นขนมปังเพื่อระลึกถึงศีลมหาสนิท ซึ่ง
ก็มีวิวัฒนาการ เปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ จนในที่สุด ก็กลายเป็นขนมและของขวัญ
อย่างที่เห็นอยู่ทุกวันนี้
เราจะเห็นได้ว่าวันคริสต์มาสเป็นวันสำคัญวันหนึ่ง เพื่อเป็นการระลึกถึงวันที่พระบุตรของพระเจ้ามาบังเกิดเป็นมนุษย์ พระองค์เป็นพระเจ้า ที่จะอยู่กับเราตลอดไปเป็นส่วนหนึ่งของมนุษย์ เป็นพี่หัวปีที่จะนำมนุษย์ทั้งมวลไปสู่พระบิดาเจ้า พระองค์เป็นความสำเร็จบริบูรณ์ ตามคำ สัญญาของพระเจ้าที่จะดูแลป้องกันรักษาเราผู้เป็นประชากรของพระองค์


เพลง : Jingle Bell


Dashing through the snow
On a one-horse open sleigh,
Over the fields we go,
Laughing all the way;
Bells on bob-tail ring,
making spirits bright,
What fun it is to ride and sing
A sleighing song tonight
Jingle bells, jingle bells,
jingle all the way!
O what fun it is to ride
In a one-horse open sleigh
A day or two ago,
I thought I'd take a ride,
And soon Miss Fanny Bright
Was seated by my side;
The horse was lean and lank;
Misfortune seemed his lot;
He got into a drifted bank,
And we, we got upsot.
Jingle Bells, Jingle Bells,
Jingle all the way!
What fun it is to ride
In a one-horse open sleigh.
A day or two ago,
the story I must tell
I went out on the snow
And on my back I fell;
A gent was riding by
In a one-horse open sleigh,
He laughed as there
I sprawling lie,
But quickly drove away.
Jingle Bells, Jingle Bells,
Jingle all the way!
What fun it is to ride
In a one-horse open sleigh.
Now the ground is white
Go it while you're young,
Take the girls tonight
And sing this sleighing song;
Just get a bob-tailed bay
two-forty as his speed
Hitch him to an open sleigh
And crack! you'll take the lead.
Jingle Bells, Jingle Bells,
Jingle all the way!
What fun it is to ride
In a one-horse open sleigh.

วันอังคารที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551

จุฬาวิชาการ

ไปงานจุฬาวิชาการ

เมื่อวันที่ 27 เดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมาซึ่งก็นานมากๆๆจากวันที่เราupblog 55+ก็ไม่รู้จะลงอะไรในblogดีก็เลยเอาเรื่องที่ไปเที่ยวจุฬาวิชาการมาเล่าให้ฟัง
ก็ที่ไปจุฬามาก็พูดจิงๆก็ไม่มีอะไรมากมายเลย คณะที่เราไปก็ไม่กี่คณะหรอกใช้เวลาไปกับการเดินหลงทางเป็นส่วนใหญ่กว่าจะหาคณะที่ชอบเจอก็นานพอดูไม่ใช่ว่ไม่ได้ถามพี่นิสิตเเถวนั้นหรอกนะ คือเราฟังไม่รู้เรื่องเอง เอาเข้าเรื่องก็คณะที่ไปก็มีคณะแรกเลย
-คณะรัฐศาสตร์IR (International relation) ได้ไปถ่ายรูปด้วยแล้วก็ฟังเพลงอาเซี่ยนที่คนไทยแต่งชนะเลิศได้ที่ 1รึป่าวไม่แน่ใจ
-คณะวิทยาศาสตร์สาขาธรณีวิทยา(ถูกบังคับให้ดู)ก็เกี่ยวกับปิโตรเลียมด้วยเพราะจุดประสงค์หลักของเราก็กะจะไปดูวิศวะปิโตรเหมือนกัน จะว่าไปก็ได้ความรู้มาไม่น้อยเลยล่ะ
-คณะวิทยาศาสตร์สาขาที่เกี่ยวกับอาหารที่เค้าเรียกกันว่าFood science อ่ะนะได้กินไอติมด้วยแล้วก็ได้รู้วิธีการถนอมอาหารแบบที่เราไม่เคยรู้มาก่อน
-แล้วที่สำคัญชอบมากๆ-
-คณะวิศวะ ตอนแรกไปดูวิศวะเหมืองแร่ดูน่าสนใจดีเหมือนกันแต่ก็ต้องยากอยู่แล้วขึ้นชื่อว่าวิศวะ แล้วก็ไปดูวิศวะปิโตร ดีอ่ะอยากเรียนแต่สมองไม่ถึง หุหุผู้หญิงไม่ค่อยมีเลย แล้วก็มีคณะอื่นอีกแต่ไม่รู้ชื่อคณะอ่ะ
แค่นี้แหละที่ไปมา
ปล. เสียดายไม่ได้ไปแวะสยามกะจะไปโบนันซ่าอ่าเซงเวลาไม่พอ

จบข่าว